นครศรีธรรมราช : เมืองแห่งการเรียนรู้มรดกทางวัฒนธรรม


Nakhon Si Thammarat : Cultural Heritage Learning City

1 / 4
2 / 4
3 / 4
4 / 4



ย่านท่าตีน

เก๋งจีนพระเจ้าตาก เก๋งจีนพระเจ้าตาก หรือศาลพระเจ้าตาก ตั้งอยู่ในวัดประดู่พัฒนาราม สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2358 ตัวอาคารตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของวัดประดู่พัฒนาราม...

วัดประดู่พัฒนาราม วัดประดู่พัฒนาราม หรือ วัดโด (เรียกตามต้นประดู่ที่ขึ้นอยู่จำนวนมาก) สร้างโดยเจ้าพระยานครพัฒน์ สถาปัตยกรรมที่สำคัญ ได้แก่ เก่งจีน หรือ “เก๋งพระเจ้าตาก”...

พิพิธภัณฑ์เมืองนครศรีธรรมราช พิพิธภัณฑ์เมืองนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ในสวนสาธารณะสมเด็จพระศรีนครินทร์ 84 (ทุ่งท่าลาด) พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ประกอบ ด้วยหมู่อาคารจำนวน 4 หลัง ด้วยกัน...

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ 84 (ทุ่งท่าลาด) สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ 84 เป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่อยู่นอกตัวเมืองนครศรีธรรมราชออกไปทางทิศตะวันออกเล็กน้อย มีเนื้อที่ 1,257 ไร่ ถึงแม้ว่าสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์...

วัดแจ้งวรวิหาร วัดแจ้งวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ สร้างในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ตั้งอยู่ ถนนราชดำเนิน ตำบลท่าวัง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช...


ย่านท่าวัง

กุฏิทรงไทย กุฎิทรงไทย ตั้งอยู่ในวัดวังตะวันตก สร้างขึ้นโดยพระครูกาชาด (ย่อง) ร่วมกับบรรดาญาติโยม สานุศิษย์ในระหว่างปีพ.ศ. 2431 - 2438 เพื่อเป็นที่พักของสงฆ์ เป็นเรือนเครื่องสับฝากระดานหลังคาทรงจั่วมุงกระเบื้องดินเผาไม่เคลือบ...

วัดวังตะวันตก วัดวังตะวันตก ตั้งอยู่ถนนราชดำเนิน ตำบลคลัง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นวัดสำคัญวัดหนึ่งในสมัยรัตนโกสินทร์ มีตำนานบอกเล่าที่เกี่ยวพันกับสายสกุลเจ้าเมืองนครในสมัยรัตนโกสินทร์...

เจดีย์ยักษ์ เจดีย์ยักษ์ ตั้งอยู่ริมถนนศรีปราชญ์ ข้างสำนักงานเทศบาลนครศรีธรรมราช เป็นเจดีย์สูงใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากเจดีย์พระบรมธาตุ ทรงเจดีย์เป็นแบบลังกาสันนิษฐานว่าชาวลังกาที่สร้างพระบรมธาตุเป็นผู้สร้าง...

อุโบสถเก่า อุโบสถเก่า วัดวังตะวันตก เป็นหนึ่งใจเจ็ดสิ่งสำคัญของวัด ซึ่งปัจจุบันไม่ได้ใช้สถานที่ดังกล่าวและได้รื้อถอนออกบางส่วน หลังจากสร้างอุโบสถใหม่ขึ้นมาทดแทน เมื่อปี พ.ศ.2506

หอระฆัง หอระฆัง เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน กว้างประมาณ 2.50 เมตร สูงประมาณ 7.00 เมตร ยอดทรงกลมคล้ายเจดีย์ ไม่ทราบปีที่สร้าง แต่พิจารณาจากเทคนิควิธีการสร้างที่ยังคงใช้การก่ออิฐถือปูนอยู่...


ย่านเมืองเก่า

พระบรมธาตุเจดีย์เมืองนครศรีธรรมราช ตำนานพระบรมธาตุเจดีย์เมืองนครศรีธรรมราช และตำนานเมืองนครศรีธรรมราช ได้เท้าความตั้งแต่สมัยพุทธกาล ครั้งเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานแล้วมีการแบ่งและประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ...

วัดสวนป่าน วัดสวนป่านชื่อวัดมาจากนายปานคงเลี้ยงช้างหลวง ซึ่งใกล้กับวัดก็มี “ถนนโรงช้าง” และ “อุทยานเจ้าพระยานครน้อย” หรือวังเดิม โดยนายปานก็อาศัยอยู่วัดนี้จึงเรียกว่า...

ประเพณีบุญสารทเดือนสิบเมืองนคร ประเพณีบุญสารทเดือนสิบเป็นประเพณีสำคัญคู่บ้านคู่เมืองนครศรีธรรมราชมายาวนาน เกิดจากความเชื่อเรื่องวิญญาณและกรรมประกอบกัน ทั้งนี้ประเพณีบุญสารทเดือนสิบตั้งอยู่บนพื้นฐานความเชื่อเรื่องกรรม...

ศาลพระเสื้อเมืองนครศรีธรรมราช พระเสื้อเมือง คือ เทวดาผู้คุ้มครองบ้านเมือง มีหน้าที่ในการป้องกันมิให้ภัยอันตรายเกิดแก่บ้านเมือง ประทานพรความสุขความเจริญรุ่งเรืองให้บ้านเมืองและประชาชน...

วิหารธรรมศาลา วิหารธรรมศาลาตั้งอยู่บริเวณประตูหน้าพระบรมธาตุเจดีย์ ทางทิศตะวันออกของพระบรมธาตุเจดีย์ หน้าบนตรงจั่วของวิหารธรรมศาลาเป็นไม้แกะสลักประดับกระจกรูปหน้าพรหมบนพานพร้อมข้อความจารึกว่า...


ย่านพระเวียง

วัดสวนหลวง วัดสวนหลวง ตั้งอยู่ตรงข้ามกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินครศรีธรรมราช ซึ่งอยู่ภายในเขตเมืองโบราณพระเวียงอันเป็นเมืองโบราณรุ่นแรกของนครศรีธรรมราช...

วัดท้าวโคตร วัดท้าวโคตร ตั้งอยู่ภายในเขตเทศบาลนคร นครศรีธรรมราช ถนนราชดำเนิน ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตำแหน่งที่ตั้งของวัดตามลักษณะและสภาพของโบราณคดีตั้งอยู่บนสันทรายเก่านครศรีธรรมราช...

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ถนนราชดำเนิน ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช สร้างเสร็จในปีพ.ศ. 2517 โดยมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว...

หอสมุดแห่งชาตินครศรีธรรมราช หอสมุดแห่งชาตินครศรีธรรมราช สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2477 ในสมัยพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยกรมศิลปากร...


ปฏิทินกิจกรรม


วันที่จัดกิจกรรม
สถานที่จัดกิจกรรม

29 กันยายน 2567
25 สิงหาคม 2567
28 กรกฎาคม 2567
30 มิถุนายน 2567
26 พฤษภาคม 2567

Document
พฤศจิกายน 2567
  • อา
  • พฤ
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • 11
  • 12
  • 13
  • 14
  • 15
  • 16
  • 17
  • 18
  • 19
  • 20
  • 21
  • 22
  • 23
  • 24
  • 25
  • 26
  • 27
  • 28
  • 29
  • 30